วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

การเปลี่ยนหน่วย

การเปลี่ยนหน่วย
หลักการเปลี่ยนหน่วย
1. โดยการแทนคำอุปสรรค

หลักการ   ให้แทนคำอุปสรรคนั้นๆได้เลย

ตัวอย่างที่  1          3  ไมโครเมตร มีค่าเท่ากับกี่เมตร

วิธีการ  เปลี่ยน ไมโครเมตร(   10 – 6   )   เป็นเมตร

                3 mm   =  3 ´10 – 6  m

ดังนั้น 3 ไมโครเมตร เท่ากับ   3 ´10 – 6  เมตร  อ่านเพิ่มเติม

คำอุปสรรค

ฟิสิกส์

        ฟิสิกส์ (Physics) เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ทำได้โดยการสังเกต การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือทำนายสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต และความรู้นี้สามารถนำไปใช้เป็นพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์



  1. ฟิสิกส์ คือ การศึกษากฎธรรมชาติ
  2. ฟิสิกส์ คือ วิทยาศาสตร์ที่อธิบายวัตถุและพลังงาน
  3. ฟิสิกส์ คือ พื้นฐานของวิทยาศาสตร์ทั้งมวล
  4. ฟิสิกส์ คือ ความรู้ที่ได้จากการศึกษาและรวบรวมจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ   อ่านเพิ่มเติม

การหาแรงปฏิกิริยา การชั่งน้ำหนักในลิฟท์

การหาแรงปฏิกิริยา   การชั่งน้ำหนักในลิฟท์

ทฤษฎี

อ่านเพิ่มเติม

คำนวณแรงเสียดทาน

คำนวณแรงเสียดทาน
1. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อที่ด้วยความเร็วคงที่  ถ้าวัตถุยั้นมีมวล 120 กิโลกรัม และ ค่าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์มีค่า 0.22 จะเกิดแรงเสียดทานจลน์ระหว่างวัตถุกับพื้นเท่าใด

2. สมนึกออกแรง 111 นิวตัน ลากวัติถุมวล 555 กิโลกรัม ไปตามพื้นราบ อยากทราบว่า จะเกิดสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานเท่าใด

3. เมื่อออกแรงลากท่อนไม้มวล 10 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นด้วยแรง 40 นิวตัน ท่อนไม้จึงเริ่มเคลื่อนที่ อยากทราบว่า สัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน มีค่าเท่าใด

4. จงหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างท่อนไม้กับพื้น เมื่อออกแรง 5 นิวตันลากท่อนไม้มวล 2.5 กิโลกรัม ไปตามพื้น เพื่อให้ท่อนไม้เคลื่อที่ได้พอดี อ่านเพิ่มเติม

แรงเสียดทาน

แรงเสียดทาน

แรงเสียดทาน (friction) เป็นแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกำลังเคลื่อนที่ไปบนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากมีแรงมากระทำ มีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้
1. เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ
2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงข้ามทิศทางของแรงที่พยายามทำให้วัตถุเคลื่อนที่ดังรูป



รูปแสดงลักษณะของแรงเสียดทาน

ถ้าวาง A อยู่บนวัตถุ B ออกแรง  ลากวัตถุ วัตถุ A จะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ตาม จะมีแรงเสียดทานเกิดขึ้นระหว่างผิวของ A และ B แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับแรง  ที่พยายามต่อต้านการเคลื่อนที่ของ A   อ่านเพิ่มเติม

กฎของนิวตัน (Newton’s laws)

กฎของนิวตัน (Newton’s laws)

         เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ถือกำเนิดใน ปี ค.ศ.1642 นิวตันสนใจดาราศาสตร์ และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting
telescope) ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้าในการรวมแสง แทนการใช้เลนส์ เช่นในกล้องโทรทรรศน์ชนิด
หักเหแสง (Refracting telescope) นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า แรงอะไรทำให้ผลแอปเปิลตกสู่
พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก และสิ่งนี้เองที่นำเขาไปสู่การค้นพบกฎที่สำคัญ 3 ข้อ



ภาพที่ 1 เซอร์ไอแซค นิวตัน

กฎข้อที่ 1 กฎของความเฉื่อย (Inertia)
     "วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ ส่วนวัตถุที่เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำเช่นกัน"

สูตรการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

u=ความเร็วต้น *ถ้าเริ่มจากหยุดนิ่ง ความเร็วต้นจะเป็น 0 มีหน่วยเป็น m/s (เมตรต่อวินาที)

v=ความเร็วปลาย มีหน่วยเป็น m/s (เมตรต่อวินาที)

a=ความเร่ง มีหน่วยเป็น m/s (เมตรต่อวินาที)

t=เวลา มีหน่วยเป็น s (วินาที)

s=ระยะกระจัด มีหน่วยเป็น m (เมตร)

สูตรการเคลื่อนที่